ค่าลดหย่อนภาษี
1.ทั่วไป▾
1.1ส่วนตัว
1.2คู่สมรส
1.3บุตร
1.4บิดามารดา
1.5ฝากครรภ์-คลอดบุตร
1.6อุปการะผู้พิการหรือทุพพลภาพ
1.7ดอกเบี้ยกู้ซื้อที่อยู่อาศัย
1.8ผู้สูงอายุและผู้พิการ
2.ประกันชีวิตและประกันสุขภาพ▾
2.1เงินสะสมประกันสังคม
2.2เบี้ยประกันชีวิต
2.3เบี้ยประกันสุขภาพ
2.4เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ
2.5เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา
3.การออมและลงทุน▾
3.1กองทุนรวมเพื่อการออม(SSF)
3.2กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ(RMF)
3.3กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
3.4กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
3.5กองทุนการออมแห่งชาติ
3.6เงินลงทุนธุรกิจStartup
4.เงินบริจาค▾
4.1เงินบริจาคทั่วไป
4.2เงินบริจาคเพื่อการศึกษา/โรงพยาบาลรัฐ/การกีฬา/การพัฒนาสังคม
4.3เงินบริจาคพรรคการเมือง
5.รายการพิเศษ▾
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
หัวข้อ :
เงินที่เราจ่ายให้กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ในส่วนของเงินสะสม(เงินที่หักจากเงินเดือนของเรา) สามารถนำมาใช้เป็นค่าลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท
สำหรับค่าลดหย่อนประเภทอื่นๆสามารถศึกษาได้ที่ค่าลดหย่อน
เงื่อนไข
การที่จะใช้สิทธิลดหย่อนภาษีจากเงินสะสมกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ จะต้องตรงตามเกณฑ์ต่อไปนี้ครบทุกข้อ
- สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง และเมื่อรวมกับส่วนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ , RMF และ กองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชนต้องไม่เกิน500,000บาท
- ลดหย่อนได้เฉพาะส่วนของเงินสะสม(เงินส่วนที่หักจากเงินเดือนของเรา)
- ส่วนของเงินสมทบ(เงินส่วนที่นายจ้างจ่ายให้) ไม่สามารถใช้ลดหย่อนได้
แหล่งที่มา : ข้อ 2(43) กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)